top

บทความแนะนำ

การเงิน
การลงทุน

รอบรู้
เรื่องอสังหาฯ

ประชาสัมพันธ์

กฎหมาย Law

กฎหมาย

กฎหมายเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด อ่านบทความเกี่ยวกับภาษีน่ารู้ กฎหมายครอบครัว กฎหมายอาคาร กฎหมายต่าง ๆ ที่พบเจอได้ในแวดวงอสังหาฯ เพราะการได้รู้ข้อปฎิบัติที่ถูกต้อง สามารถป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้

  •   เผยกลเม็ด! การเลี่ยงภาษีเพื่อขายที่ดินแบบถูกกฎหมาย “มีสองสิ่งที่คนเราไม่สามารถหนีพ้นได้ คือ ความตาย และภาษี” เป็นหนึ่งในคำกล่าวที่สื่อถึงวงจรชีวิตของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เพราะไม่มีใครหนีพ้นความตายได้ แล้วการเสียภาษีเป็นสิ่งที่พลเมืองทุกคนต้องทำเมื่อมีอายุหรือรายได้เข้าเกณฑ์ตามแต่กฎหมายของแต่ละที่กำหนดไว้ แต่รู้หรือไม่ว่าการขายอสังหาริมทรัพย์มีวิธีที่สามารถเลี่ยงภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับบุคคลธรรมดาได้ แต่ก่อนอื่นเราต้องมาทำความรู้จักกับภาษีธุรกิจเฉพาะก่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ คือ ภาษีตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการประกอบกิจการเฉพาะอย่างที่ไม่สามารถคำนวณหรือจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสินค้า หรือการให้บริการในแต่ละขั้นตอนการผลิต และจำหน่ายสินค้าหรือบริการได้ โดยกิจการประเภทอสังหาริมทรัพย์เองก็นับเป็นธุกิจที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะด้วยเช่นกัน ซึ่งมีเกณฑ์การเสียรวมถึงการยกเว้นภาษี ดังนี้ การขายอสังหาริมทรัพย์ทางการค้าหรือหากำไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นจะได้มาโดยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2541 ว่าด้วยการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ถือว่าเป็นทางการค้าหรือหากำไรตามพระราชกฤษฎีกาฯ ได้แก่การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ดังต่อไปนี้     จากเกณฑ์ข้างต้นพบว่าหากทำการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาสามารถขายได้ 5 ปีหลังจากได้มา หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 1 ปี จะได้รับการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะทันที และถ้าหากทุกท่านชื่นชอบบทความแบบนี้ สาระอสังหายังมีบทความดี ๆ เกี่ยวกับการเงิน-การลงทุน รวมถึงที่ดินและอสังหาฯ

  •   แนวที่ดินใต้เสาไฟฟ้าแรงสูงรู้ไว้ไม่เสียเปรียบ ในวงการอสังหาฯ มีที่ดินหลากหลายแบบในหลากหลายพื้นที่ที่น่าสนใจต่อการลงทุน และสามารถสร้างเม็ดเงินกำไรให้กับผู้ถือครองได้ไม่น้อย โดยปกติแล้วเรามักคุ้นเคยกันว่าเมื่อเวลาผ่านไปที่ดินส่วนใหญ่จะมีมูลค่าสูงขึ้น แต่เชื่อไหมว่านอกจากที่ดินที่ให้มูลค่าสูงตามกาลเวลาแล้ว ยังมีที่ดินประเภทที่เมื่อถือครองแล้วมีโอกาสขาดทุนหรือได้กำไรเพียงน้อยนิด หนึ่งในนั้น คือ ‘แนวที่ดินใต้เสาไฟฟ้าแรงสูง’ วันนี้สาระอสังหาจะมาอธิบายถึงข้อห้ามต่าง ๆ ในพื้นที่แนวที่ดินใต้เสาไฟฟ้าแรงสูง รวมถึงสิ่งที่สามารถทำได้ในพื้นที่ดังกล่าว     เบื้องต้นเราต้องทำความเข้าใจถึงกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ถูกเขียนไว้ในพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 ได้ประกาศไว้ดังนี้      1. ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอันตรายแก่ระบบไฟฟ้า เช่น ห้ามนำวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรกล เช่น รถเครน รถยก รถตัก รถขุด เข้าใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงน้อยกว่า 4 เมตร หรือ  ห้ามเผาไร้อ้อย นาข้าว ป่าพง หรือวัสดุอื่นใดในเขตแนวเดินสายไฟฟ้า  

  • การอยู่คอนโดมิเนียมเป็นอีกหนึ่งในไลฟ์สไตล์ของคนสมัยใหม่ที่มักจะเลือกเป็นที่อยู่อาศัยแทนการอยู่บ้าน ด้วยความสะดวกในการเดินทางหรือความเป็นส่วนตัวกว่าการอยู่บ้านร่วมกันหลาย ๆ คน ยิ่งในปัจจุบันมีโครงการคอนโดสร้างใหม่ใจกลางเมืองเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ก็ยิ่งทำให้มีผู้เข้าพักอาศัยในคอนโดมากขึ้นเช่นกัน แต่หนึ่งสิ่งที่หลาย ๆ ท่านอาจละเลยหรือไม่ทราบ นั่นก็คือเรื่องความปลอดภัยอย่าง ‘บันไดหนีไฟในคอนโด’ เพราะหากเกิดอัคคีภัยหรือเหตุการณ์อื่น ๆ ที่ส่งผลต่อความอันตรายของผู้พักอาศัยในคอนโด บันไดหนีไฟเปรียบเสมือนทางรอดในเหตุการณ์นั้น ๆ วันนี้ สาระอสังหา จะมาแนะนำความรู้บันไดหนีไฟและกฎหมายบันไดหนีไฟที่น่าสนใจแก่ทุก ๆ คนกัน ลักษณะของบันไดหนีไฟที่ถูกต้อง ตามกฎหมายกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. อาคารที่สูงตั้งแต่ 4 ชั้นขึ้นไปแต่ไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารสูง 3 ชั้นและมีดาดฟ้าที่มีพื้นที่เกิน 16 ตารางเมตร ต้องมีบันไดหนีไฟที่ทำด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อย 1

การเงิน - การลงทุน

การเงิน - การลงทุน

การเงิน-การลงทุน บทความดี ๆ อัปเดตตลอดทั้งปี เทคนิควางแผนทางการเงินและรอบรู้เรื่องการลงทุนไปในตัว สินเชื่อบ้าน – ไฟแนนซ์ คู่มือการซื้อ – ขายและทิศทางอสังหาฯ คลี่คลายทุกข้อสงสัย ไขปัญหาได้ทุกประเด็นร้อน

  •   เผยกลเม็ด! การเลี่ยงภาษีเพื่อขายที่ดินแบบถูกกฎหมาย “มีสองสิ่งที่คนเราไม่สามารถหนีพ้นได้ คือ ความตาย และภาษี” เป็นหนึ่งในคำกล่าวที่สื่อถึงวงจรชีวิตของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เพราะไม่มีใครหนีพ้นความตายได้ แล้วการเสียภาษีเป็นสิ่งที่พลเมืองทุกคนต้องทำเมื่อมีอายุหรือรายได้เข้าเกณฑ์ตามแต่กฎหมายของแต่ละที่กำหนดไว้ แต่รู้หรือไม่ว่าการขายอสังหาริมทรัพย์มีวิธีที่สามารถเลี่ยงภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับบุคคลธรรมดาได้ แต่ก่อนอื่นเราต้องมาทำความรู้จักกับภาษีธุรกิจเฉพาะก่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ คือ ภาษีตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการประกอบกิจการเฉพาะอย่างที่ไม่สามารถคำนวณหรือจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสินค้า หรือการให้บริการในแต่ละขั้นตอนการผลิต และจำหน่ายสินค้าหรือบริการได้ โดยกิจการประเภทอสังหาริมทรัพย์เองก็นับเป็นธุกิจที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะด้วยเช่นกัน ซึ่งมีเกณฑ์การเสียรวมถึงการยกเว้นภาษี ดังนี้ การขายอสังหาริมทรัพย์ทางการค้าหรือหากำไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นจะได้มาโดยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2541 ว่าด้วยการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ถือว่าเป็นทางการค้าหรือหากำไรตามพระราชกฤษฎีกาฯ ได้แก่การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ดังต่อไปนี้     จากเกณฑ์ข้างต้นพบว่าหากทำการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาสามารถขายได้ 5 ปีหลังจากได้มา หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 1 ปี จะได้รับการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะทันที และถ้าหากทุกท่านชื่นชอบบทความแบบนี้ สาระอสังหายังมีบทความดี ๆ เกี่ยวกับการเงิน-การลงทุน รวมถึงที่ดินและอสังหาฯ

  •   อยากเกษียณตอนนี้!!! ต้องมีเงินเก็บเท่าไหร่กันนะ? เชื่อว่า ‘การเกษียณ’ นั้นคงเป็นสิ่งที่ใครหลายคนคอยเฝ้าฝันถึงอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นการได้ใช้ชีวิตตามที่ตนเองต้องการ การท่องเที่ยวในสถานที่ที่อยากไปแต่ยังไม่มีโอกาสได้ไป ทำกิจกรรมที่ยังไม่เคยได้ลองทำ ดูหนังที่ยังไม่เคยดู อ่านหนังสือที่ซื้อมาเก็บไว้นานแล้ว นั่นทำให้การเกษียณอายุเปรียบเสมือนการได้เริ่มต้นชีวิตใหม่อีกครั้ง เป็นการพักผ่อนระยะยาวจากการทำงานอันแสนยาวนาน แต่ในโลกที่ทุก ๆ อย่างล้วนขับเคลื่อนด้วยระบบทุนนิยมนั้นทำให้เงินมีส่วนสำคัญที่จะทำให้ดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ สาระอสังหา จึงอยากจะชวนท่านผู้อ่านมาลองคำนวณเงินเก็บเพื่อการเกษียณเบื้องต้นกัน     เพียงเท่านี้ท่านผู้อ่านก็สามารถคำนวณเงินเก็บเพื่อการเกษียณเบื้องต้นได้ด้วยตนเองแล้ว เนื่องจากการวางแผนชีวิตเป็นเรื่องสำคัญ และการวางแผนเกษียณเองก็เป็นหนึ่งในส่วนสำคัญของการวางแผนชีวิต เพราะฉะนั้นการวางแผนเกษียณเป็นเรื่องที่ควรทำตั้งแต่เนิ่น ๆ เพื่อจะได้นำแผนนี้ไปประกอบการพิจารณาการวางแผนชีวิตในขั้นต่อ ๆ ไป สาระอสังหา หวังว่าท่านผู้อ่านจะได้ใช้ชีวิตหลังเกษียณตามที่ท่านต้องการ และถ้าหากทุกท่านชื่นชอบบทความแบบนี้ เว็บไซต์สาระอสังหายังมีบทความดี ๆ เกี่ยวกับการเงิน-การลงทุน รวมถึงที่ดินและอสังหาฯ อีกมากมายที่รอให้ท่านได้ค้นพบที่ สาระอสังหา

  • หนึ่งในปัญหาที่นักลงทุนอาจได้พบเจอ คือ การที่มีอสังหาริมทรัพย์อยู่ในครอบครอง แล้วไม่สามารถปล่อยเช่าหรือทำกำไรได้อย่างที่ตั้งใจเอาไว้ อาจจะด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือข้อกำหนดต่าง ๆ ที่อาจไม่เอื้ออำนวยเท่าที่ควร ซึ่งเดิมทีประเทศของเราก็มีข้อกำหนดหรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับสิทธิในอสังหาริมทรัพย์หลากหลายข้อ แต่อาจยังไม่ก่อให้เกิดสภาพคล่องแก่นักลงทุนเท่าที่ควร เหตุนี้เองจึงเป็นที่มาของพระราชบัญญัติ 'ทรัพย์อิงสิทธิ'   หากเราพูดถึงสิทธิในการถือครองด้านอสังหาริมทรัพย์ เราอาจเคยได้ยินวิธีการหลากหลายรูปแบบที่ สามารถสร้างรายได้หรือมีสิทธิ์จากอสังหาริมทรัพย์นั้น ๆ ได้ เราจะเรียกว่า 'ทรัพยสิทธิ'  อย่างที่คนทั่วไปอาจรู้จักกัน ประกอบด้วย กรรมสิทธิ : สิทธิในการถือครองหรือเป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้น ๆ สิทธิครอบครอง : สิทธิในการครอบครองทรัพย์สินนั้น ๆ ไว้ แม้จะไม่มีกรรมสิทธิในทรัพย์สินนั้น ๆ เช่น ผู้ที่เช่าบ้านอยู่ ย่อมมีสิทธิครอบครองในบ้าน แม้กรรมสิทธิจะอยู่ที่เจ้าของบ้านตัวจริงก็ตาม ภาระจำยอม : ข้อผูกพันอันเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์

สาระอสังหา
รอบรู้เรื่องอสังหาฯ

รอบรู้เรื่องอสังหาฯ

รอบรู้เรื่องอสังหาฯ ข้อควรรู้ ข้อชี้แนะ ข้อแนะนำ ‘บ้าน ที่ดิน คอนโดฯ’ หลากหลายสาระใหม่ ๆ สร้างความเข้าใจเรื่องอสังหาริมทรัพย์ ด้วยนิยามที่ว่า ‘อสังหาฯ ไม่ใช่เรื่องยาก’

รอบรู้เรื่องบ้าน

รอบรู้เรื่องคอนโด

รอบรู้เรื่องที่ดิน

  • หนึ่งในปัญหาที่นักลงทุนอาจได้พบเจอ คือ การที่มีอสังหาริมทรัพย์อยู่ในครอบครอง แล้วไม่สามารถปล่อยเช่าหรือทำกำไรได้อย่างที่ตั้งใจเอาไว้ อาจจะด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือข้อกำหนดต่าง ๆ ที่อาจไม่เอื้ออำนวยเท่าที่ควร ซึ่งเดิมทีประเทศของเราก็มีข้อกำหนดหรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับสิทธิในอสังหาริมทรัพย์หลากหลายข้อ แต่อาจยังไม่ก่อให้เกิดสภาพคล่องแก่นักลงทุนเท่าที่ควร เหตุนี้เองจึงเป็นที่มาของพระราชบัญญัติ 'ทรัพย์อิงสิทธิ'   หากเราพูดถึงสิทธิในการถือครองด้านอสังหาริมทรัพย์ เราอาจเคยได้ยินวิธีการหลากหลายรูปแบบที่ สามารถสร้างรายได้หรือมีสิทธิ์จากอสังหาริมทรัพย์นั้น ๆ ได้ เราจะเรียกว่า 'ทรัพยสิทธิ'  อย่างที่คนทั่วไปอาจรู้จักกัน ประกอบด้วย กรรมสิทธิ : สิทธิในการถือครองหรือเป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้น ๆ สิทธิครอบครอง : สิทธิในการครอบครองทรัพย์สินนั้น ๆ ไว้ แม้จะไม่มีกรรมสิทธิในทรัพย์สินนั้น ๆ เช่น ผู้ที่เช่าบ้านอยู่ ย่อมมีสิทธิครอบครองในบ้าน แม้กรรมสิทธิจะอยู่ที่เจ้าของบ้านตัวจริงก็ตาม ภาระจำยอม : ข้อผูกพันอันเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์

  •   แนวที่ดินใต้เสาไฟฟ้าแรงสูงรู้ไว้ไม่เสียเปรียบ ในวงการอสังหาฯ มีที่ดินหลากหลายแบบในหลากหลายพื้นที่ที่น่าสนใจต่อการลงทุน และสามารถสร้างเม็ดเงินกำไรให้กับผู้ถือครองได้ไม่น้อย โดยปกติแล้วเรามักคุ้นเคยกันว่าเมื่อเวลาผ่านไปที่ดินส่วนใหญ่จะมีมูลค่าสูงขึ้น แต่เชื่อไหมว่านอกจากที่ดินที่ให้มูลค่าสูงตามกาลเวลาแล้ว ยังมีที่ดินประเภทที่เมื่อถือครองแล้วมีโอกาสขาดทุนหรือได้กำไรเพียงน้อยนิด หนึ่งในนั้น คือ ‘แนวที่ดินใต้เสาไฟฟ้าแรงสูง’ วันนี้สาระอสังหาจะมาอธิบายถึงข้อห้ามต่าง ๆ ในพื้นที่แนวที่ดินใต้เสาไฟฟ้าแรงสูง รวมถึงสิ่งที่สามารถทำได้ในพื้นที่ดังกล่าว     เบื้องต้นเราต้องทำความเข้าใจถึงกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ถูกเขียนไว้ในพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 ได้ประกาศไว้ดังนี้      1. ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอันตรายแก่ระบบไฟฟ้า เช่น ห้ามนำวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรกล เช่น รถเครน รถยก รถตัก รถขุด เข้าใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงน้อยกว่า 4 เมตร หรือ  ห้ามเผาไร้อ้อย นาข้าว ป่าพง หรือวัสดุอื่นใดในเขตแนวเดินสายไฟฟ้า  

  • หน้าฝนแบบนี้ สิ่งที่ควรเฝ้าระวังให้ดีเลยสำหรับคนที่มีบ้าน คือเหตุการณ์ ”น้ำท่วม” ซึ่งไม่สามารถคาดเดาได้เลยว่าเหตุการณ์น้ำท่วมจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ หากบ้านคุณอยู่ในพื้นที่สูงอาจอุ่นใจได้บ้าง แต่อุทกภัยเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน เราจะเตรียมตัวและรับมือเหตุการณ์นี้อย่างไรได้บ้าง เพื่อไม่ให้น้ำท่วมตา วันนี้ ‘สาระอสังหา’ จะมาแนะนำให้ทุกท่านทราบกัน โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ระยะด้วยกัน ระยะแรก : เตรียมรับมือก่อนน้ำท่วม หากได้รับสัญญาณหรือคำเตือนจากภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่ามีโอกาสที่น้ำจะท่วม เราควรรีบเตรียมตัวให้พร้อมเพื่อให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุดกับบ้าน ขนย้ายสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ขึ้นที่สูง ทั้งทรัพย์สินมีค่า เครื่องใช้ไฟฟ้าและยานพาหนะไปยังที่ปลอดภัย  กักตุนสิ่งของที่จำเป็น สำหรับการอยู่อาศัยในช่วงน้ำท่วม ซึ่งต้องคำนึงให้เพียงพอต่อจำนวนผู้อยู่อาศัยภายในบ้าน สิ่งที่ควรเตรียมไว้ได้แก่ น้ำสะอาด ทั้งสำหรับดื่มและอาบ อาหารที่สามารถรับประทานได้ง่าย ๆ เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ปลากระป๋อง ขนมปัง   ยาสามัญประจำบ้าน เช่น ยาแก้ปวด ยาลดไข้ ยาสำหรับผู้มีโรคประจำตัว สิ่งของจำเป้น

รอบรู้เรื่องที่ดิน

ประชาสัมพันธ์

ประชาสัมพันธ์

เกาะติดกระแสและอีเว้นท์สำคัญในแวดวงอสังหาฯ บทสัมภาษณ์นักธุรกิจ งานแถลงข่าว งานเปิดตัวสินค้าและบริการจากองค์กรในประเทศไทย ข่าวประชาสัมพันธ์ที่น่าสนใจ รับประกันข่าวใหม่ ๆ พร้อมอัปเดตทุกเหตุการณ์

หมวดหมู่